พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก แปล ภาคห้า

BIA-P.1.2/104 กล่อง 15

พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก แปล ภาคห้า

พระไตรปิฏกแปลไทย เล่ม 14 พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก แปล ภาคห้า

มีพระสูตรขนาดกลาง 52 สูตร มีเนื้อหาแตกต่างกันหลากหลาย เช่น เทวทหสูตร โคปกโมคัลลานสูตร สัปปุริสสูตร มหาจัตตารีสกสูตร อานาปานสติสูตร กายคตาสติสูตร ภัทเทกรัตตสูตร จูฬกรรมวิภังคสูตร สัจจวิภังคสูตร ปุณโณวาทสูตร สฬายตนวิภังคสูตร อินทรียภาวนาสูตร

พิมพ์ครั้งที่ [พ.ศ. 2469]

[1] - [252]

หมายเหตุ

- มีลายมือเขียนที่หน้าปกว่า "มัชฌิมนิกายภาค ๕ อินฺทปญฺโญ"

-มีรูปถ่ายพุทธทาสภิกขุวัยหนุ่มขนาด 2 x 2.5 ซม.จำนวน 1 รูป ติดที่หน้าปกรอง

-มีลายมือเขียนข้อความด้วยดินสอ หน้า 285 ว่า "รัศมีและวรรณแห่งเทวดา."

-มีลายมือเขียนข้อความด้วยดินสอ หน้า 299 ว่า "ดูจูฬโคสิงคสาคสูตรด้วย"

-มีลายมือเขียนข้อความด้วยปากกาหมึกสีน้ำเงิน หน้า 308 ว่า "บาลีเปน สาตสหคตํ สมาธึ ภาเวสึ. สาตสหคดต. สมาธิ ภาวิโต โหติ."

-มีลายมือเขียนข้อความด้วยดินสอ หน้า 310 ว่า "นรก"

-มีลายมือเขียนข้อความด้วยปากกาหมึกสีแดง หน้า 314 ว่า "นรก"

-มีลายมือเขียนข้อความด้วยปากกาหมึกสีแดง หน้า 315 ว่า "เดรัจฉาน"

-มีลายมือเขียนข้อความด้วยดินสอ หน้า 318 ว่า "เต่าตาบอด"

-มีลายมือเขียนข้อความด้วยปากกาหมึกสีแดง หน้า 321 ว่า "อุปมาสวรรค์"

-มีลายมือเขียนข้อความด้วยปากกาหมึกสีแดง หน้า 327 ว่า "ฤทธิ์ของจักรพรรดิ."

-มีลายมือเขียนข้อความด้วยดินสอ หน้า 332 ว่า "เทวทูต."

-มีลายมือเขียนข้อความด้วยดินสอ หน้า 342 ว่า "๑. วิธีลงอาชญาครั้งโบราณ ๓๒ อย่าง ใน ภัยวรรค จตุก. อํ น. ๒๐ ประกอบ"

-มีลายมือเขียนข้อความด้วยปากกาหมึกสีแดง หน้า 369 ว่า "เหตุทำให้สัตว์เปนไปต่างกัน"

-มีลายมือเขียนข้อความด้วยปากกาหมึกสีแดง หน้า 370 ว่า "เหตุให้อายุสั้น" , "เหตุให้อายุยืน" , "เหตุให้มีโรคมาก" , เหตุให้มีโรคน้อย"

-มีลายมือเขียนข้อความด้วยปากกาหมึกสีแดง หน้า 371 ว่า "เหตุให้รูปงาม" , "เหตุให้รูปทราม" , เหตุให้มีศักดิ." , "เหตุให้ไม่มีศักดิ์."

-มีลายมือเขียนข้อความด้วยปากกาหมึกสีแดง หน้า 372 ว่า "เหตุให้มีสมบัติน้อย" , "เหตุให้มีสมบัติมาก" , เหตุให้มีสกุลต่ำ."

-มีลายมือเขียนข้อความด้วยปากกาหมึกสีแดง หน้า 373 ว่า "เหตุให้มีตระกูลสูง." , "เหตุให้โง่" , เหตุให้ฉลาด"

-มีลายมือเขียนข้อความด้วยปากกาหมึกสีแดง หน้า 408 ว่า "เรา" , "กล่าวแล้ว"

-มีลายมือเขียนข้อความด้วยปากกาหมึกสีแดง หน้า 409 ว่า "เรา" , "กล่าวแล้ว"

-มีลายมือเขียนข้อความด้วยดินสอ หน้า 414 ว่า "วาทะที่ควรหรือไม่ควร"

-มีลายมือเขียนข้อความด้วยปากกาหมึกสีแดง หน้า 415 ว่า "ไม่"

-มีลายมือเขียนข้อความด้วยปากกาหมึกสีแดง หน้า 416 ว่า "ไม่"

-มีลายมือเขียนข้อความด้วยปากกาหมึกสีแดง หน้า 423 ว่า "อุทเทส.่" , "มีธาตุหกอย่าง." , "มีย่อผัสสะหกอย่าง." , มีที่รำพึงแห่งใจ ๑๘ อย่าง."

-มีลายมือเขียนข้อความด้วยปากกาหมึกสีแดง หน้า 424 ว่า "มีธรรมเปนที่ตั้งแห่งจิตต์ ๔ อย่าง."

-มีลายมือเขียนข้อความด้วยปากกาหมึกสีแดง หน้า 425 ว่า "ธาตุหก" , ปถวีธาตุ" , "อาโปธาตุ"

-มีลายมือเขียนข้อความด้วยปากกาหมึกสีแดง หน้า 426 ว่า "เตโชธาตุ" , วาโยธาตุ"

-มีลายมือเขียนข้อความด้วยปากกาหมึกสีแดง หน้า 427 ว่า "อากาสธาตุ"

-มีลายมือเขียนข้อความด้วยปากกาหมึกสีแดง หน้า 428 ว่า "วิญญาณธาตุ"

-มีลายมือเขียนข้อความด้วยปากกาหมึกสีแดง หน้า 483 ว่า "ธรรม ๖ หมวด" , "อายตนะใน ๖" , อายตนะนอก ๖"

-มีลายมือเขียนข้อความด้วยปากกาหมึกสีแดง หน้า 485 ว่า "เวทนา ๖ " , "ตัณหา."

-มีลายมือเขียนข้อความด้วยปากกาหมึกสีแดง หน้า 493 ว่า "รู้เมื่อมรรคบริบุรณ์แล้ว. " , "ไวพจน์อริยสัจ."

-มีลายมือเขียนข้อความด้วยปากกาหมึกสีแดง หน้า 498 ว่า "สมณะที่ไม่ควรนับถือ"

-มีลายมือเขียนข้อความด้วยปากกาหมึกสีแดง หน้า 501 ว่า "สมณะที่ไม่ควรนับถือ"

-มีลายมือเขียนข้อความด้วยปากกาหมึกสีแดง หน้า 503 ว่า "เครื่องวัดสำหรับวัดสมณะว่าแท้หรือไม่แท้."

-มีลายมือเขียนตัวเลขไทยด้วยดินสอและปากกา หน้า 5, 10, 24, 33, 51, 53, 58, 75 - 77, 93, 134 - 146, 158 - 167, 169, 172 - 179, 182, 187 - 188, 191, 196 - 200, 202, 207 - 217, 227 - 228, 236, 238 - 239 , 299 - 305 , 308 - 309 , 319 , 327 , 332 , 387 , 390 - 393 , 395 , 397 , 408 , 443 , 445

-มีเครื่องหมายกากบาท หน้า 273, 295, 311, 315, 318, 333

-มีการขีดเส้นใต้ หน้า 282, 284, 295, 308, 513, 515, 576

-มีเครื่องหมายดอกจัน * หน้า 517

พ.ศ. 2469

Item

สิ่งพิมพ์บนกระดาษ ปกแข็ง จำนวน 252 หน้า

พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก แปล ภาคห้า

มีกรรมสิทธิตามพระราชบัญญัติ

โรงพิมพ์ไท ถนนรองเมือง จังหวัดพระนคร พิมพ์ พ.ศ. ๒๔๖๙

สุตตันตปิฎก, มัชฌิมนิกาย, อุปริปัณณาสก์

สุตตันตปิฎก, มัชฌิมนิกาย, อุปริปัณณาสก์