สฺยามรฏฺฐสฺส เตปิฏกํ อภิธมฺมปิฏเก ปฏฺฐานํ ฉฏฺโฐ ภาโค ปจฺจนียปฏฺฐานํ อนุโลมปจฺจนียปฏฺฐานํ ปจฺจนียานุโลมปฏฺฐานํ

BIA-P.1.2/45 กล่อง 9

สฺยามรฏฺฐสฺส เตปิฏกํ อภิธมฺมปิฏเก ปฏฺฐานํ ฉฏฺโฐ ภาโค ปจฺจนียปฏฺฐานํ อนุโลมปจฺจนียปฏฺฐานํ ปจฺจนียานุโลมปฏฺฐานํ

พระไตรปิฎกเล่มที่ 45 อภิธรรมปิฎกเล่มที่ 12 ปัฏฐาน ภาค 6

เป็นปัจจนียปัฏฐาน คืออธิบายความเป็นปัจจัยแก่กันแห่งธรรมทั้งหลายอย่างเล่มก่อนๆ นั่นเอง แต่อธิบายแง่ปฏิเสธ

แยกเป็น ปัจจนียปัฏฐาน คือ ปัจจนีย์ (ปฏิเสธ) + ปัจจนีย์ (ปฏิเสธ) เช่นว่า ธรรมที่ไม่ใช่กุศล อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศลเกิดขึ้น

โดยเหตุปัจจัย เป็นอย่างไร อนุโลมปัจจนียปัฏฐาน คือ อนุโลม + ปัจจนีย์ (ปฏิเสธ) เช่นว่า อาศัยโลกิยธรรม

ธรรมที่ไม่ใช่โลกุตตรธรรมเกิดขึ้นโดยเหตุปัจจัย เป็นอย่างไร ปัจจนียานุโลมปัฏฐาน คือ ปัจจนีย์ (ปฏิเสธ) +อนุโลม

เช่นว่า อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศลธรรมที่เป็นอกุศล เกิดขึ้นโดยเหตุปัจจัย เป็นอย่างไร

และในทั้ง 3 แบบนี้ แต่ละแบบ จะอธิบายโดยใช้ธรรมในแม่บทชุด 3 แล้วต่อด้วยชุด 2 แล้วข้ามชุดระหว่างชุด 2 กับชุด 3

ชุด 3 กับชุด 2 ชุด 3 กับชุด 3 ชุด 2 กับชุด 2 จนครบทั้งหมดเหมือนกัน ดังนั้นแต่ละแบบจึงแยกซอยละเอียดออกไปเป็น

ติก- ทุก- ทุกติก- ติกทุก- ติกติก- ทุกทุก- ตามลำดับ (เขียนให้เต็มเป็น ปัจจนียติกปัฏฐาน ปัจจนียทุกปัฏฐาน

ปัจจนียทุกติกปัฏฐาน ฯลฯ ดังนี้เรื่อยไปจนถึงท้ายสุดคือ ปัจจนียานุโลมทุกทุกปัฏฐาน)

พิมพ์ครั้งที่ 2 [พ.ศ. 2503]

[1] - [565]

ซ้ำ 2 เล่ม

หมายเหตุ

พระไตรปิฏกบาลี ฉบับสยามรัฐ เล่ม 45 อภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน ภาค 6

พ.ศ. 2503

Item

สิ่งพิมพ์บนกระดาษ ปกแข็งและปกอ่อน จำนวน 565 หน้า

สฺยามรฏฺฐสฺส เตปิฏกํ อภิธมฺมปิฏเก ปฏฺฐานํ

ฉฏฺโฐ ภาโค ปจฺจนียปฏฺฐานํ อนุโลมปจฺจนียปฏฺฐานํ ปจฺจนียานุโลมปฏฺฐานํ

เขมจาริตฺเถเรน ธมฺมติโลกาจริเยน ปฐเม วาเร โสธิตํ

มหามกุฏราชวิทฺยาลเย คนฺถาธิการตฺเถเรหิ ปุนปิ โสธิตํ

ราชปฺปมุเขน สฺยามรฏฺฐวาสินา มหาชเนน มุทฺทาปิตํ

สฺยามรฏฺฐสฺส ราชธานิยํ มหามกุฏราชวิทฺยาลเยน ปกาสิตํ พุทฺธปรินิพฺพานา ๒๕๐๓ ทุติเย วาเร

พระไตรปิฎกบาลี, อภิธรรมปิฎก

พระไตรปิฎกบาลี, อภิธรรมปิฎก, ปัฏฐาน ภาค