สวนอุศม เล่ม ๔ อาสาฬหบูชา วันพุธ ที่ ๒๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๘

BIA-P.1/60-12

สวนอุศม เล่ม ๔ อาสาฬหบูชา วันพุธ ที่ ๒๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๘

สวนอุศม เล่ม ๔ อาสาฬหบูชาวันพุธ ที่ ๒๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๘ [ขึ้น ๑๕ ค่ำเดือนแปด ปีเถาะ]

ประกอบด้วยเรื่อง

- ความสำคัญของเรื่อง สุญญตา

- ความหมายของคำว่า "สุญญตา"

- ปฏิจจสมุปบาท เป็นอาการแห่ง สุญญตา

- สุญญตา ในฐานะเป็นหัวใจของพุทธศาสนา

- จะเข้าใจหลัก "สุญญตา" ได้อย่างไร

- สุญญตา อยู่ในรูปของข้อปฏิบัติชื่ออื่น

- ความหมายของสุญญตา พิจารณาโดยความเป็นธาตุ

- ธาตุปัจจเวกขณ์โดยเฉพาะ

- ความหมายของคำว่า "ธาตุ" ในแง่ลึก

- อสังขธาตุ ก็เป็นสักว่า ธาตุ

- ธาตุปัจจเวกขณ์ นิสฺสตฺโต นิชฺชีโว สุญฺโญ

- ปัญหายุ่งยากเกี่ยวกับคำว่า สัตวะ, ชีวะ

- ที่ตั้งแห่งความยึดถือของ สัตวะ, ชีวะ

- สุญฺโญ และอนตฺตา ที่เป็นมิจฉาทิฎฐิ

- ธาตุปัจจเวกขณ์ แสดงความว่าง ของอาหาร

- ธาตุปัจจเวกขณ์ แสดงความว่าง ของบุคคลผู้บริโภค

- ธาตุปัจจเวกขณ์ แสดงความว่าง ของจีวร

- ธาตุปัจจเวกขณ์ แสดงความว่าง ของเสนาสนะ

- ธาตุปัจจเวกขณ์ แสดงความว่าง ของคิลานเภสัช

- อิทธิพลของอารมณ์ และ "ความหมาย"

- อุปสรรค ที่ทำให้ไม่สามารถพิจารณาโดยความเป็นธาตุ

- แถลงการณ์

พิมพ์ครั้งที่ [พ.ศ. 2518]

[1] - [174]

หมายเหตุ

- มีลายมือเขียนที่หน้าปกว่า "ประจำโต๊ะ Ind"

- มีขีดเส้นใต้หน้า 3, 111-112

- มีแก้คำผิดหน้า 22, 71, 111

- มีการขีดฆ่าหน้า 111

พ.ศ. 2518

Item

สิ่งพิมพ์บนกระดาษ ปกอ่อน จำนวน 174 หน้า และมีลายมือของพุทธทาสภิกขุเขียนด้วยปากกา