สามศาสนาร่วมกันช่วยโลก

BIA4.3/60 กล่อง 8

สามศาสนาร่วมกันช่วยโลก

สามศาสนาร่วมกันช่วยโลก [พ.ศ. 2529]

บันทึกในสมุดจดสันห่วงปกแข็ง VENUS COMPO-BOOK IN CLASSIC ONE จำนวน 1 เล่ม (80 หน้า) หน้า [1]–[80]

- exegesis = ยิ่งกว่า scrutinize. หน้า [1]

- พุทธเป็นคฤสต์ยิ่งกว่าคฤสต์. หน้า [2]

- สามศาสนาร่วมกันช่วยโลก. ฝากสหประชาชาติ. หน้า [3]

- บำรุงศาสนา? หน้า [4]

- (1) ทานํ เป็นสีลธรรม & ส่งเสริมสีลธรรม! ขั้นที่ยังเนื่องด้วยตน หน้า [5]

- (2) สีลํ [ผู้มีภาวะปกติ] บังคับตัว สังวร หน้า [6]

- (3) ปริจฺจาคํ [ผู้เสียสละรอบด้าน] บริจาคกิเลส บริจาคตัวตน/ของตน รอบด้านทิศทั้ง ๖ หน้า [7]

- (4) อาชฺชวํ [ผู้มีความตรงด้วยปัญญา] เถรตรงด้วยวิชชา วิญญูชนด้วยวิชา หน้า [8]

- (5) มทฺทวํ [ผู้มีจิตฝึกดีมีความอ่อนโยนต่อการงานและบุคคล] หน้า [9]

- (6) ตบํ [ผู้มีไฟศักดิ์สิทธิ์เครื่องเผากิเลสหรืออุปสัคศัตรู “อโศกมหาราช”] หน้า [10]

- (7) อโกธํ [ผู้ไม่มีความกำเริบแห่งจิตเพราะอนิฏฐารมณ์ชนิดต่างๆ ของอนิฏฐารมณ์] การทำให้โกรธไม่ได้! หน้า [11]

- (8) อวิหึงสํ [ไม่มีกิเลสเป็นเหตุเบียดเบียนตนเอง/ผู้อื่น] ภายนอก : ไม่มีการกระทำที่เบียดเบียฬใคร หน้า [12]

- (9) ขนฺติ [มีภาวะอดทน คือภาวะสมควรแก่การลุถึงปลายทาง บรมธรรม] ความควร. ต่อของขี้ฝุ่นใต้พระบาท หน้า [13]

- (10) อวิโรธนํ [ดำรงตนเป็นผู้ไม่เผลอสติลุอำนาจแก่กิเลสออกนอกแนว.] นั่นคือสัมมาๆๆๆ หน้า [14]

- (ฝ) (1) ขันธ์ ๕ : เกี่ยวกับทุกข์ & ดับทุกข์อย่างไร? หน้า [15]

- (ฝ) (2) ขันธ์ ๕ (ต่อ) หน้า [16]

- (3) ขันธ์ ๕ (ต่อ) หน้า [17]

- (ฝ) (4) ขันธ์ ๕ (ต่อ) ยึดมั่นก็เป็นทุกข์ ขอบเขตแห่งความยึดมั่น หน้า [18]

- (5) ขันธ์ ๕ (ต่อ) เห็นอย่างลเอียดโดยอาการแห่งปฏิจจสมุปบาท :– หน้า [19]

- (ฝ) (6) ขันธ์ ๕ (ต่อ) ขันธ์กับอุปาทานขันธ์ การควบคุมกระแสปฏิจจ.เพื่อไม่ให้เกิดอุปาทานขันธ์ การฝึกให้มีสติสัมปชัญญะ หน้า [20]

- (7) ขันธ์ ๕ (ต่อ) [ปฏิบัติ] ความหลุดพ้นคือความไม่ยึดมั่นด้วยอุปาทานในเบญจขันธ์. หน้า [21]

- (8) ขันธ์ ๕ (ต่อ) [ผลได้รับ] ผลตลอดชีวิต : หลุดพ้น (Emancipated) (มีประมวลขันธ์ห้าอยู่ทางปลายเล่มอีกตอนหนึ่ง) หน้า [22]

- (ฝ) (1–2) 2 ธ.ค. 29.ปัญหาของเรา – เกี่ยวกับธรรมะ หน้า [23]

- (ฝ) (3) ชีวิตของเราทุกเรื่องเกี่ยวกับขันธ์ห้า. ทำไมจึงเกิดเป็นปัญหา? หน้า [24]

- การรับผลกรรม. หน้า [25]

- หลักการดำรงธรรมแท้จริง หน้า [26]

- Creationist [ไสย] เทียบ หน้า [27]

- Evolutionist. [พุทธ] หน้า [28]

- มีความเลวร้ายอะไร ที่ไม่ได้มาจากการเห็นแก่ตัว. หน้า [29]

- นักปราชญ์หรือนักรบ? หน้า [30]

- ทุกข์นี้แก้ไม่ได้ หรือไม่ได้แก้. หน้า [31]

- การตกเป็นสมาชิก มหาสมาคมแห่งความโง่. หน้า [32]

- ศาสนพิธีกับพระพุทธเจ้า. หน้า [33]

- ชีวิตที่เย็นสนิท. [ปรินิพฺพุโต] หน้า [34]

- คุณค่าของมหายาน! หน้า [35]

- ถ้าควบคุมกิเลสของเราไม่ได้ ความเจริญจะมีโทษมหันต์ครึ่งหนึ่งเสมอ หน้า [36]

- มีพระพุทธเจ้าอยู่กับตัวได้อย่างไร? (กับบ้านเมือง – ประเทศ – โลก) หน้า [37]

- สีลธรรมของสัตว์เดรัจฉาน. [สีลธรรมโดยสัญชาตญาณที่ไม่มีใครเรียก] หน้า [38]

- การพิมพ์ท่วมโลกเปล่าๆ. หน้า [39]

- ทำไมคนยุคเจริญด้วยวิทยาการและประดิษฐกรรมเห็นแก่ตัวจัด หน้า [40]

- ฝรั่งกับกาลามสูตร [เข้ากันได้แน่] หน้า [41]

- คนป่าดึกดำบรรพ์โน้นจะหัวเราะไหม? หน้า [42]

- อบรมนิสัยเด็กๆ แต่เล็กจนโต. หน้า [43]

- ทุกขสัจจ์ หน้า [44]

- ยิ่งกว่าประดิษฐกรรมก้าวหน้า การพัฒนาทั้งโลก. หน้า [45]

- ยิ่งกว่าโรงพยาบาลหมดทั้งโลก. หน้า [46]

- หน้าที่ของฉัน! หน้า [47]

- พุทธทาสกับพระคัมภีร์ หน้า [48]

- อนัตตาของอสังขตธรรม. หน้า [49]

- ไตรลักษณ์ที่เห็นง่าย ของสังขตธรรม. หน้า [50]

- ที่พึ่ง! จะพึ่งพระเจ้าหรือพึ่งการกระทำถูกต้องตามอิทัป. หน้า [51]

- “ตัวตน” เพิ่งจะตั้งต้นเมื่อเด็กรู้จักคิดตามเวทนา. หน้า [52]

- จิต –สิ่งมหัศจรรย์– หน้า [53]

- มีสีลสมบูรณอัตโนมัติเมื่อตั้งใจทำวิปัสสนา. หน้า [54]

- สิ่งปิดบังไตรลักษณ์ หน้า [55]

- ค้นคว้ากันแต่เรื่องทางวัตถุ. (จนกระทั่งรู้ –ทาสีสะพานที่ป้องกันคนฆ่าตัวตาย) หน้า [56]

- อันไหนสำคัญกว่ากัน. ขจัดปัญหาก่อน & ภายหลัง ประสพสำเร็จ หน้า [57]

- แด่นักศึกษาผู้อุทิศตัวเพื่อการพัฒนา! หน้า [58]

- เศรษฐกิจไม่ได้แก้ปัญหาทางจิต หน้า [59]

- แม้ทางวัตถุจะสมบูรณ์ ยังจะต้องมีธรรมปีติหล่อเลี้ยงอยู่ หน้า [60]

- ผล [ระบบ] “ธรรมะ – หน้าที่ – ถูกต้อง – พอใจ.” หรือระบบธรรมปีติ. หน้า [61]

- เกี่ยวกับ “ถูกต้อง – พอใจ – เป็นสุข” มีธรรมสโมธานสูงกว้าง หน้า [62]

- ลดอัตตากับคู่แข่งขันลงเสียเถิด หน้า [63]

- อะไรๆ สักว่าเป็นเรื่องของนาม – รูป ไม่ใช่เรื่องของ “ตน” หน้า [64]

- เจ้าตนหลวง (พ.ศ. ๒๕๓๐) คุณวิสุทธิ์ – ทำสไลด์ – โปสเตอร์ ๕ ธ.ค. ๒๙ หน้า [65]

- ศาสนา ๒ แบบ. หน้า [66]

- เพราะทุกข์มีอยู่ในโลก พระศาสดาจึงมีประโยชน์ หน้า [67]

- สิ่งที่ต้องยกให้พุทธศาสนา. หน้า [68]

- ยอดเศรษฐกิจ ในแง่ของเศรษฐศาสตร์. ธรรมปีติ. หน้า [69]

- ต้องถูกด่าอย่างมากมาย. หน้า [70]

- ปัญหาปกิณณกะ (ที่ไม่ควรจะมี) หน้า [71]

- (ฝ.) ขันธ์ห้า หลักพื้นฐานแห่งการศึกษา สกลพุทธศาสนา. [โดยสรุป] หน้า [72]

- เกี่ยวกับพระธาตุ. หน้า [73]

- เกี่ยวกับพระเจ้า. หน้า [74]

- เกี่ยวกับความรอดในสาสนาต่างๆ. หน้า [75]

- เกี่ยวกับพระพุทธเจ้า. หน้า [76]

- (ฝ) ลักษณะชีวิตที่พึงปรารถนา. [ปริสุทธา ปรมานุตตรสุญญตา โลกุตตรา ปรินิพพุตา] หน้า [77]

- (ฝ) ชีวิตเป็นทุกข์เพราะเหตุ :– หน้า [78]

- คิดได้ชั่วขณะ หน้า [79]

- ของแปลก! หน้า [80]

พ.ศ. 2529

Item

จำนวน 80 หน้า