ที่มาหลักเกณฑ์ที่ต้องใช้ หลักเพื่อปฏิบัติ

BIA4.3/69 กล่อง 9

ที่มาหลักเกณฑ์ที่ต้องใช้ หลักเพื่อปฏิบัติ

ที่มาหลักเกณฑ์ที่ต้องใช้ หลักเพื่อปฏิบัติ [พ.ศ. 2530]

– สมุดบันทึกแบบฉีก “ยอดน้ำมันเครื่อง มาโก้ Mako” จำนวน 1 เล่ม (28 หน้า) หน้า [1]–[28]

- ที่มาหลักเกณฑ์ที่ต้องใช้ หลักเพื่อปฏิบัติ หน้า [1]

- อชฺฌตฺตเมว อุปสเม นาญฺโต ภิกฺขุ สนฺติเมเสยฺย อชฺฌตฺตํ อุปสนฺตสฺส นตฺถิ อตฺตํ กุโต นิรตฺตํ วา. (พุ. ขุ. สุ. 25/514) หน้า [2]

- วิญญาณที่มีลักษณ์คล้ายอัตตา, มีอยู่บ่อยๆ เช่น (พุ.) ขุ. สุ. 25/547 อชฺฌตฺตญฺจ พหิทฺธา จ เวทนํ นาภินนฺทิโต เอวํ สตสฺส จรโต วิญฺาณํ อุปรุชฺฌติ นี่มิใช่วิญญาณหกแน่; หรือวิญญาณไม่เกิดผล หน้า [3]

- เกี่ยวกับคำว่า อัตตา ที่ยุ่งยาก หน้า [4]

- สุจินต์. เอา ทุกขลักษณะเป็นทุกข์ –เวลา แทนที่จะพุว่ามีทุกขลักษณะตลอด ก็พูดว่ามีทุกข์ตลอดเวลา, โดยอาศัยว่า ไม่เที่ยงก็เป็นทุกข์. หน้า [5]

- แปลก ผู้อยู่ป่า ต้องแตกฉานในอภิธรรม–อภิวินัย ฯลฯ โคลิสสานิสสานิสูตร นอกนั้นอีกหลายอย่าง ไม่แปลกแม้กระทั่งวิโมกข์. หน้า [6]

- ศาสนา ท. พราหมณ์ สร้าง–คุม–ล้าง, พุทธ อริยสัจ–ปฏิจ. (12), ซิกส์ การต่อสู้, อิสลาม สันติ–เย็น, คฤสต์ เสียสละ, โซโรสเตอร์ การแตกสาขา, เต๋า กำลัง, ของจื้อ+ชินโต เคารพบรรพชน, ไสย ท. สนันตนะ หลับ ลูกเป็ดไก่อ่อน, วิทยาศาสตร์ เหตุผล รวมกันแล้วประเสริฐที่สุด หน้า [7]

- คำพิเศษ “ผู้อยู่คนเดียว” คือผู้หลุดพ้นแล้ว เป็นอรหันต์พ้นกิเลส – พ้นภพ, ไม่ใช่อย่ป่าคนเดียวตลอดเวลา, ละฉันทราคะ ในการได้อัตตภาพปัจจุบัน! เป็นใจความสำคัญ หน้า [8]

- ประวัติศาสตร ประวัติศาสตร์นี่แปลก : เป็นรากฐานของการศึกษา :– มนุษยศาสตร์ วัฒนธรรม ศาสนา – ปรัชญา ฯลฯ กระทั่งวิทยาศาสตร์ในแง่เหตุผลของปรากฏการณ์นั้นๆ. หน้า [9]

- สุจินต์ สติ เป็นสังขารขันธ์, และไม่เป็นอกุสล. [ไม่มีมิจฉาสติ?) หน้า [10]

- 10 พ.ย.ทีวี บ่าย 1 โมง ๒ เรื่อง ปีใหม่ + เฉลิม หน้า [11]

- ศรีวิชัย. เขียนได้ด้วยดินสอเล่ม หน้า [12]

- อนุโมทนา หน้า [13]

- หัวใจ พุท. จริง, นั้นกล่าวได้ว่ามีอยู่แต่เพียงว่า มีการยึดมั่นขันธ์ หรือส่วนที่ประกอบกันเข้าเป็นชีวิต, เมื่อใด, ก็จะมีทุกข์เกิดขึ้นเมื่อนั้น, และเพราะความยึดมั่นนั่นเอง. หน้า [14]

- ความไม่เป็นไสยศาสตร์ :– ปญฺํ น อจฺเจติ สิรี กทาจิ. (มโหสถ) ขุ.ชา.วีส. 27/428 “ศรีจะยิ่งใหญ่กว่าปัญญาไปไม่ได้.” หน้า [15]

- อวิโรธนํ ไม่พิรุธวิปริต หน้า [16]

- ครั้งที่ (12) สรุปความแห่งทศพิธราชธรรม. “ราชัญญะ”? หน้า [17]

- เทวตานุสสติ? ฉีกพระไตรปิฎก. สุจินต์. ว่าพระองค์สอนมหานามว่า มีอินทรีย์ ๕ พละ ๕ แล้วยังต้องเจริญอนุสสติ ๖ [พุทธ–ธรรม–สงฆ์–สีล–จาค–เทวตา) ให้เนืองๆ. หน้า [18]

- ศัตรูกับบัณฑิต & ศัตรูกับอันธพาล ต่างกันมากในความปลอดภัย : บัณฑิตจะพยายามระงับความเป็นศัตรู, ส่วนอันธพาล ตรงกันข้าม, คือจะกระชับความเป็นศัตรู. ทางที่ดีที่สุดคือไม่ทำความเป็นศัตรูเสียเลย ฯ หน้า [19]

- หลัก. อภิชฌา & โทมนัส ย่อมไหลไปตามอารมณ์ เมื่อไม่มีการสำรวมอินทรีย์. (หลักอินทรียสํวรทั่วไป) (ไม่ตรงกับหลักของเราเรื่องอาสวะ) หน้า [20]

- ไสยศาสตร์ ไสย. ท. มีเท็คนิคซ่อนอยู่ :– เด็กไหว้ก่อนขึ้นต้นไม้ – เพื่อมีสมาธิ. ไสย เป็นฐานรองรับพุ. ที่เหมาะแก่เด็ก. จำเป็นสำหรับคนที่ยังไม่/ไม่อาจ/รู้ความจริง มีผลดีสำหรับคนระดับนี้ หายกลัว. หน้า [21]

- การละอุปาทานในขันธ์ห้า. หน้า [22]

- จิตตปฏิสังเวที คืออะไร, ในอานาปานสติ ไม่มีรายละเอียด. หน้า [23]

- หู ตา จมูก ลิ้น กาย ใจ ดึง ๕ ทางดีกว่า เห็นโค้งง่ายกว่า ดึง ๖ ทาง, ซึ่งต้องแยกมโนออกจากจิต, ให้มาเป็นทางที่ ๖, หรือเอาศูนย์กลางเป็นจิต, มโน เป็นอายตนะที่ 6. หน้า [24]

- อนาคต หวังบวก ดึงขึ้น ปัจจุบัน ไฟราคะ – โทษะ อดีต วิตก กังวล อาลัย ดึงลง ระแวง เกลียด – กลัว ลบ อนาคต หน้า [25]

- เพราะมีทุกข์เช่นนั้นๆ จึงทำอานาปานสติ หน้า [28]

พ.ศ. 2530

Item

จำนวน 28 หน้า