ค่ายธรรมบุตร

BIA-P.2.1/23 กล่อง 16

ค่ายธรรมบุตร

ค่ายธรรมบุตร

เป็นหนังสือรวบรวมคำบรรยายแก่บุคคลต่าง ๆ จัดแบ่งคำบรรยายเป็นห้าหมวด คือ หมวดลูกเสือ อนุกาชาด ครู พุทธสมาคม และหมวดเบ็ดเตล็ด

ลูกเสือเป็นธรรมบุตร เพราะเป็น “ลูกของธรรม” ผู้ฝึกทำหน้าที่เพื่อหน้าที่อย่างถูกต้องทุกลำดับขั้นตอนของชีวิต เพื่อประโยชน์ตนและผู้อื่น

อุดมคติของอนุกาชาด คือ ความไม่เห็นแก่ตน แต่เห็นแก่ผู้อื่น เจียดส่วนเกินให้ผู้อื่นบ้าง เพื่อให้โลกอยู่เย็น

ครูเป็นผู้ทำหน้าที่มัคคุเทสก์ทางวิญญาณ คือนำเด็กไปสู่ความเป็นมนุษย์ ครูต้องเป็นผู้นำธรรมบุตรต่อไป

ปราศจากธรรมเสียอย่างเดียวเท่านั้น โลกนี้จะเป็นกลียุค มีธรรมเพียงอย่างเดียว มนุษย์จะอยู่ร่วมกันด้วยความรู้สึกที่ปราศจากความเห็นแก่ตัว


ประกอบด้วยเรื่อง


ค่ายธรรมบุตร

-พิมพ์ครั้งแรก [พ.ศ. 2518]

หน้า [1] - [527]

ซ้ำ 4 เล่ม

หมายเหตุ

-หนังสือชุดธรรมโฆษณ์ หมวดที่ 4 ชุมนุมธรรมบรรยาย เล่มที่ 37


ค่ายธรรมบุตร เล่ม 1

-พิมพ์ครั้งที่ [พ.ศ. 2536]

หน้า [528] - [699]

หมายเหตุ

-การจัดพิมพ์แยกเป็น 3 เล่ม

-เล่ม 1 ประกอบด้วยเรื่อง

1. ลูกเสือคือธรรมบุตร

2. บารมี 10 ประการของลูกเสือ

3. การเต้นรำทำเพลง และการหัวเราะ

4. อุดมคติของลูกเสือเป็นอย่างเดียวกับพุทธศาสนา

5. การรู้จักถือประโยชน์จากศาสนา

6. ความรอดตัวของวัยรุ่น

7. ความไม่เห็นแก่ตัว

8. เจียดส่วนเกินให้ผู้อื่นบ้างเพื่อช่วยให้โลกอยู่เย็น


ค่ายธรรมบุตร เล่ม 2

-พิมพ์ครั้งที่ [พ.ศ. 2536]

หน้า [700] - [883]

หมายเหตุ

-เล่ม 2 ประกอบด้วยเรื่อง

9. งานอนุกาชาด ในแง่ของศีลธรรม

10. ความสับสนแห่งความหมายของภาษาที่ใช้พูดกันอยู่

11. วิญญาณของความเป็นครู

12. ท่านจะได้อะไรจากการประชุมที่นี่

13. ธรรมะทำไมกัน

14. อานาปานสติภาวนา

15. เรื่องมะพร้าวนาฬิเกร์


ค่ายธรรมบุตร เล่ม 3

-พิมพ์ครั้งที่ [พ.ศ. 2536]

หน้า [884] - [1053]

หมายเหตุ

-เล่ม 3 ประกอบด้วยเรื่อง

16. สนทนาเกี่ยวกับโบราณคดีเมืองไชยา

17. พึงประพฤติธรรมให้สุจริต

18. รบกันพลาง แลกธรรมกันพลาง

19. อาสาสมัครของพระพุทธเจ้า

20. ต้องพัฒนาจิตใจให้ทันกับพัฒนาวัตถุ

21. อนามัยคือการประพฤติธรรม

22. การสังคมสงเคราะห์ส่วนที่ยังขาดอยู่

23. การพัฒนาอนามัย


พ.ศ. 2518

Item

สิ่งพิมพ์บนกระดาษ ปกแข็งและปกอ่อน จำนวน 1054 หน้า

พุทธศาสนา -- หัวข้อธรรม, พุทธศาสนาเถรวาท

บารมีสิบ, ลูกเสือ, อนุกาชาด, มะพร้าวนาฬิเกร์, โบราณคดีเมืองไชยา