การส่งเสริมปฏิบัติธรรม และ หลักแห่งพระพุทธสาสนา

BIA-P.1/21-1

การส่งเสริมปฏิบัติธรรม และ หลักแห่งพระพุทธสาสนา

การส่งเสริมปฏิบัติธรรม และ หลักแห่งพระพุทธสาสนา

การส่งเสริมการปฏิบัติธรรมหรือวิปัสสนาธุระ ด้วยการปฏิบัติเอง ด้วยการสอนหรือนำผู้อื่น ช่วยเหลือผู้ปฏิบัติดี หลักการส่งเสริม ต้องอาศัยกัน ต้องรู้หลักพุทธสาสนาตรงกัน ต้องทำด้วยการเสียสละ หลักแห่งพุทธสาสนา แยกเป็น 2 ประเภทคือ หลักฝ่ายการกระทำ 1. หลักกาลามสูตต์ (ตัดสินการเชื่อ) 2. หลักโคตมีสูตต์ (ตัดสินธรรม) 3. ตนพึ่งตน 4. พุทธสาสนาคือสาสนาแห่งความชนะ หลักฝ่ายทฤษฎี 1. ความต่างกับสาสนาอื่น 2. หลักรรม 3. หลักอนัตตา 4. หลักอริยสัจ 5. หลักโลกิย - โลกุตตระ 6. ความเข้ากันได้กับวิทยาศาสตร์ 7. ความสาสนาสากล

ซ้ำ 3 เล่ม

พิมพ์ครั้งที่ 1 [พ.ศ. 2477]

[1] - [80]

หมายเหตุ

- มีลายมือที่หน้าปกเขียนว่า "For your self"

- มีลายมือเขียนที่ใบรองปกว่า "For membranec in the name of Indapann Bhikkhu. Received 24/6/77 Dulya Bagya"

- มีลายมือเขียนที่หน้า 3 ว่า "อวิชชา สังขาร วิญญาณ นามรูป สฬายตนะ ผัสสะ เวทนา ตัณหา อุปาทาน ภพ ชาติ ๑๑."

- มีลายมือเขียนว่า " * ที่ระลึกของคุณพระโดยเฉภาะ."

- มีขีดเส้นใต้ หน้า 3, 5, 9, 11, 13, 15, 17, 18, 20-25, 27-36, 39-48, 57

- มีเครื่องหมายดอกจัน หน้า 13

[81] - [159]

หมายเหตุ

- มีลายมือที่หน้าปกเขียนว่า "For your self"

- ขีดเส้นใต้ หน้า 20-26ม 31ม 46

- มีเส้นตั้ง หน้า 20

[160] - [240]

หมายเหตุ

- มีลายมือที่หน้าว่างระหว่างหน้า 16 - 17 ว่า "ต่อเมื่อไหร่ ? ต่อเมื่อได้พยายามทำอย่างเต็มที่ และก้าวไปถึงที่สุดแห่งการปฏิบัตินี่เอง."

- มีลายมือที่หน้าว่างระหว่างหน้า 34 - 35 ว่า "แต่ว่าผลมากกว่ากันหลายเท่านัก."

- มีขีดเส้นใต้ หน้า 2 - 48

พระดุลยพากย์สุวมัณฑ์ และ หลวงวิชัยนิตินาท สร้างให้พุทธธรรมสมาคม สาขาจังหวัดนครศรีธรรมราช แจกเป็นธรรมทาน ๒๐๐๐ ฉบับ

พ.ศ. 2477

Item

สิ่งพิมพ์บนกระดาษ ปกอ่อน และมีบันทึกลายมือของพุทธทาสภิกขุด้วยปากกา จำนวน 240 หน้า

เรื่อง การส่งเสริมปฏิบัติธรรม

และ

หลักแห่งพระพุทธสาสนา


พระดุลยพากย์สุวมัณฑ์

และ

หลวงวิชัยนิตินาท

สร้างให้พุทธสมาคม สาขาจังหวัดนครศรีธรรมราช

แจกเปนธรรมทาน. ๒๐๐๐ ฉบับ.

พิมพ์ครั้งแรก ๒๕๐๐ ฉบับ

ที่โรงพิมพ์ธรรมทาน ตลาดพุมเรียง ไชยา."

การปฏิบัติธรรม, หลักพุทธศาสนา

การปฏิบัติธรรม, วิปัสสนาธุระ, หลักพุทธศาสนา